Dogs different size

โรคข้ออักเสบ - Arthrose oder Arthristis

ภาวะผิดปกตินีสงผลต่อกระดูก (bones) เอ็น (ligaments) และข้อต่อ (joints) ซง ก่อให้เกิดอาการเหมือนกันหลายประการ รวมถึง อาการข้อติด (joint stiffness) และอาการปวด (pain) โรคข้ออักเสบ “Arthritis” เป็นคำทีมีความหมายครอบคลุม ซึงสามารถอธิบายถึงสาเหตุและอาการต่างๆ ทีเกิดจากการอักเสบภายในข้อต่อ ในบางกรณีการอักเสบสามารถส่งผลเสีย ต่อผิวหนัง กล้ามเนอื และ อวัยวะต่างๆ ตัวอย่างเช่น โรคข้อเสอ ม (Osteoarthritis “OA”) และโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ (Rheumatoid arthritis “RA”)

โรคข้อเสือม (Osteoarthritis หรือ Arthrosis) เป็นชนิดหนึงของโรคข้ออักเสบทีพบได้บ่อย โดยปกติจากการสึกหรอและ ชำรุดในข้อต่อและกระดูกอ่อน ซง กระดูกอ่อน (cartilage) เป็นเนอื เยอมีความลน ใช้ปกคลุมผวิ ปลายกระดูกและชว่ ยให้ข้อ ต่อขยับได้ เมือระยะเวลานานไปกระดูกอ่อนผิวข้อจะเสือมลง และสามารถหายไปได้โดยสมบูรณ์ เป็นผลทำให้เกิดอาการปวด ขัด และบวมได้ บริเวณข้อต่อของกระดูก โรคข้อเสอ มนัน สามารถเกิดได้กับทุกข้อต่อใน ร่างกาย โดยเฉพาะอย่างยง ข้อเข่า (Knees) และข้อสะโพก (hips) และความเสย งในการเกิดโรคนจี ะมากขึน ตามอายุของ สัตว์ทเพมขึน

โรคข้อเสอ มเมอเกิดขึน แล้วจะไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ โดยงานวจิ ยในปัจจุบันยังไม่สามารถอธิบายถึงกระบวนการ และความสัมพันธ์ของการเกิดโรคได้ทัง หมด แต่อย่างไรก็ตามสมดุลระหว่างการสร้างเซลล์ใหม่และการเสอ มสลายของเสีย ภายในข้อนัน จะเรมต้นด้วยการเกิดใหม่ของวัฎจักรกระบวนการอักเสบและการถูกทำลายของเซลล์

แต่ทว่าเราสามารถทำให้ระยะเวลาของการเกิดโรคช้าลงได้โดยใช้วิธีการบำบัดรักษาแบบมีเป้าหมาย โดยมีประเด็นสำคัญ คือ ต้องไปขัดขวางห่วงโซ่ของสือทีให้เกิดกระบวนการอักเสบ (chain of transmission) ซึงเป็นสาเหตุให้เกิดการสลายตัว ของกระดูกอ่อน

Gelenkgrafik

อาการของโรค - Symptome

จะทราบได้อย่างไรว่าสุนัขของเราป่วยและสุนัขประเภทไหนทีป่วย? อาการทีสุนัขของคุณเป็นโรค Arthritis หรือ โรค complex arthritis โดยหลักการสุนัขทุกตัวสามารถป่วยจากโรคดังกล่าวได้ ทุกเวลา จากการศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่าประมาณ ใน ของสุนัขทัง หมดจะเป็นโรคนี โดยส่วนใหญ่มี อาการปวดเรือ รังเป็นอาการหลักทบ่งชีถ งึ การเกิดโรคนี

เราสามารถแบ่งสุนัขตามความน่าจะเป็นในการเกิดโรคได้เป็น กลุ่มหลักๆ ได้แก่ อายุ, สถานะทางสุขภาพ, ปัจจัยโน้มนำ ทางพันธุกรรม และโรคต่างๆทีส่งผลกระทบ

อายุสุนั – สัดส่วนของนาํ ไขข้อลดลงตามอายุทเพมขึน ในโครงสร้างกระดูกไม่ได้รับการดูแลป้องกัน

สถานะทางสุขภาพ – การทมีนาํ หนักตัวมากเกิน การออกกำลังกาย หรือมีกิจกรรมทมากเกินไป ข้อต่อจะตึงมากผิดปกติ และรับนาํ หนักมากเกินไป (การรับนาํ หนักในทันทรี ะหว่างการกระโดด หรือวงบนพืน ผิวทแขง็ ทำงานบ่อยครัง ในสภาวะ อากาศเย็นและเปียก โดยปราศจากการอบอุ่นร่างกายและข้อต่ออย่างเหมาะสมก่อนการทำกิจกรรม หากมีกิจวัตร ประจำวันแบบดังกล่าวจะทำให้กระบวนการสร้างเซลล์ใหม่เกิดขึน ไม่ทันทดแทนเซลล์ทเสียหายได้

ปัจจัยโน้มนาํ ทางพันธุกรรม – ปัญหาโรคข้อตัง แต่กำเนิดเช่น ข้อศอกเจริญผิดปกติ (elbow joint dysplasia “ED”) หรือ ข้อ สะโพกเจริญผิดปกติ (hip joint dysplasia “HD”), สุนัขสายพันธ์หุ น้าย่น (ขนาดใหญ่) และการสร้างกระดูกอ่อนผิดปกติ จากพันธุกรรม

โรคต่างๆ ทีส่งผลกระทบ – ภายหลังจากกระดูกหัก, เส้นเอ็นฉีกขาด, โรคสะบ้าเคลือน หรือภาวะสารอาหารทีไม่สมดุล ระหว่างระยะการเจริญเติบโต สามารถก่อให้เกิดโรคข้อเสอ มได้มากขึน

สัตวแพทย์สามารถวินิจฉัยถึงสาเหตุของโรคได้อย่างถูกต้อง โดยการเอกซเรย์, การส่องกล้องตรวจภายในข้อ (Arthroscopy), การเจาะข้อ (Arthrocentesis) ส่วนการอัลตราซาวด์ (Ultrasound), การตรวจวินิจฉัยโรคด้วย เครืองเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT) หรือการใช้เครืองสร้างภาพด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) ก็สามารถใช้วินิจฉัยได้โรคนี ได้เช่นกัน

นคืออาการเบือ งต้นทอ าจจะะช่วยให้เจ้าของสุนัขรู้ว่าสุนัขคุณอาจป่วยเป็นโรคข้อเสอ ม

  • มีอาการเลีย หรือแทะบริเวณขาหรือข้อต่อ โดยเฉพาะขณะนง พักหลังจากการเคลอ นไหว
  • มีอาการลุกขึน ยืนยาก
  • มีอาการเกร็งแขง็ เกิดขึน เมอมีการเคลอ นไหว
  • สุนัขของคุณมักจะทงิ นำ หนักลงทขาข้างใดข้างหนง ทุกครัง ทำให้สุนัขมีลักษณะเดินกะเผลกหรือไม่อยากทจะยืนเป็น เวลานาน ๆ หรือชอบล้มตัวลงนอนตลอดเวลาหลังจากยืน
  • สุนัขของคุณไม่ชอบอากาศเย็น และชอบทอุ่นๆหรือชอบนอนทน มๆ
  • สุนัขของคุณต้องใช้ความพยายามกระโดดขึน รถหรือขึน โซฟาหลายๆครัง
  • สุนัขของคุณหลกี เลย งทจะกระโดดขึน ไปบนทต่างๆ เช่น ไม่ชอบทจ ะกระโดดขึน ขอนไม้ หรือโซฟาแตกกต่างจากเดมิ ทเคย ชอบ ยากทจ ะปีนขึน บันไดหรือหลีกเลย งทจะไม่ปีน
  • สุนัขของคุณไม่ค่อยชอบทีจะเคลือนไหว เช่น หลีกเลียงการวิงเล่นกับลูกบอลทีมันเคยชอบ
  • สุนัขของคุณแสดงอาการเจ็บขาอย่างชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิงหลังจากการออกกำลังกายอย่างหนักหรือยาวนาน
  • พบกลุ่มอาการโรคกล้ามเนอื เสอ ม (muscular dystrophy) โดยทส นัขปรับตัวโดยการจำกัดการเคลอ นไหว (เช่น เอา หน้าอกกับขาหน้าช่วยยันพนื เมอ ต้องการทจะลุกขึน จากการนอน ซง โดยปกติจะใช้ขาหลัง)

การรักษา

เนองจากโรคข้อเสอ มนไี ม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ การรักษาจงึ ออกแบบให้การดำเนินไปของโรคเกิดช้าลง และเกิด อาการทางคลินิกน้อยทสุด (เช่น ข้อขัด, การปวด) ในสุนัขทม ปัจจัยเสย งจากพันธุกรรม หรือพบตัวชีว ดอนๆททาํ ให้เกิดโรค สัตวแพทย์จะมีการรักษาโดยมุ่งเน้นไปทก ารลดและทำให้เกิดอาการทางคลินิกน้อยทสุด.

โดยรวมไปถงึ การควบคุมนำ หนัก, ปรับเปลย นการเคลอ นไหว, การรักษาทางเลือก เช่น กายภาพบาํ บัด หรือฝังเขม็ และ การให้อาหารทีช่วยเสริมโครงสร้างของกระดูก

ในการดำเนินไปของโรค การให้ยาแก้ปวด หรือการรักษาด้วยวิธีผ่าตัดเป็นสิงทีจำเป็น แต่ควรจะใช้เป็นการรักษาใน ลำดับ ท้ายๆเท่าทีจะเป็นไปได้ แต่ทว่าการให้ “เพอร์นิค ค็อก” (PerNic® Cox) สุนัขจะได้รับกรดไขมันไม่อิมตัวหลายชนิด (polyunsaturated fatty acids) ในปริมาณทีเข้มข้นต่อวัน โดยเฉพาะอย่างยิงจากกรดไขมันชนิดหนึงทีเรียกว่า โอเมก้า 3 (Omega-3) ทีมีส่วนประกอบสำคัญ คือ Eicosapentaenoic acid (EPA) และ Decosahexaenoic aid (DHA) ทีสามารถ ยับยัง เอนไซม์ในการสร้าง Leukotien และ prostaglandin (COX-1, COX-2 และ LOX-5) ทก่อให้เกิด กระบวนการอักเสบ

สง มีชีวิตทอุดมไปด้วยสารอีพีเอ และดีเอชเอ มีจุดมุ่งหมายเพอจะไปทดแทนกรดไขมันโอเมก้า (สารนสี งผลต่อการ อักเสบ) ในเยอหุ้มเซลล์ด้วยกรดไขมันโอเมก้า ซง สารนีส ามารถลดการสร้างสารเอโคซานอยด์ (eicosanoids) ซง เป็นสาร ทีทำให้เกิดการอักเสบได้ (Budsverg & Bartels, 2006)

Grafik der Schmerztherapie

Do you Like to move it?